มีเทพหลายท่านที่สอนเทรด เขาพยายามอธิบายว่าการได้กำไรในแต่ละครั้งต้องมาก ซึ่งแล้วก็แล้วแต่ว่าแค่นั้นที่จะเรียกว่ามาก จนเป็นที่มาของวลีที่ว่าเวลาเสีย ต้องเสียให้น้อย แต่เวลาได้ต้องได้มากๆ แล้วอยากให้ท่านผู้อ่านคิดตามนะครับว่าหลักการมันถูก แต่ในตลาดจริงมันใช้หรือเปล่าใช้ได้ไหม คิดตามนะครับเสีย เสียให้น้อย ผมที่ตามมาคือ "โดน Stop loss" แล้วกินทั้งทีต้องให้ได้คำโตโต จริงไหมอะ ผมบอกให้เลยถ้าผมรู้ทิศทางราคาผมจะรอกินคำโตๆ แน่นอน เพื่อนๆ ลองคิดตามนะครับ
วันพฤหัสบดีที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2560
วันเสาร์ที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2560
เชื่อเทพเขาซิ เขาเก็บตังค์คุณนะ
จากที่หลากหลายทวยเทพ พยายามสร้างความน่าเชื่อถือหลากหลาย เช่น โชว์พอร์ตที่มีกำไร สร้างแรงจูงใจจากคำพูดสวยหรู ผมก็จะขอนำคำพูดนั้นมาสรุป ตามแบบฉบับของผมนะครับ ปรับใช้นะครับซึ่งต้องขอบอกก่อนว่าทุกอย่างที่ทวยเทพพูดมามันถูกต้อง แต่ผมแค่มาปรับประยุกต์ใช้ให้ไม่ยุ่งยากกับชีวิตประจำวันของผมเท่านั้นเองครับ ลองปรับจากผมดูก็ได้นะครับ
1) ไม่ over tread ทวยเทพเขาจะใช้สูตรในการคำนวณให้ดูโก้ ตามแบบของผมถ้าผมมี 100 USD ผมก็เปิดได้แค่ 1 order ถ้ามี 1000 USD ก็เปิดได้เต็มที่ 10 order เท่านั้นเองครับ หรือปรับตามการขาดทุนที่ยอมรับได้เช่น มีเงินในพอร์ต 1000 USD ยอมรับการขาดทุนได้ที่ 2% นั้นคือ ขาดทุนได้ 20 USD (เอา 20 USD ไปแบ่งเป็น Order ซึ่งต้องมีความเข้าใจเรื่อง pips value)
อ้างอิงที่มาของภาพ https://www.google.co.th/searchq=%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%88+over+trade&rlz=1C1CHBF_enTH728&espv=2&biw=1366&bih=662&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ved=0ahUKEwiX2v3djdXRAhVLGJQKHcEqAkAQ_AUICCgD#imgrc=ToVrlQoWrs2AyM%3A
2) เล่นตามเทรน เทรนทีดูน่าเชื่อถือได้ก็เป็นในรายวันหรือรายสัปดาห์ น้อยไปกว่านั้น ผมไม่แนะนำเพราะจะพบสัญญาณหลอกอยู่มาก อาจใช้อินติเคเตอร์ง่ายๆ เพื่อช่วยในการตัดสินใจ
อ้างอิงที่มาของภาพ
https://www.google.co.th/search?q=%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%88+over+trade&rlz=1C1CHBF_enTH728&espv=2&biw=1366&bih=662&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ved=0ahUKEwiX2v3djdXRAhVLGJQKHcEqAkAQ_AUICCgD#tbm=isch&q=%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%99&imgrc=2FYOCwsGTLWQ7M%3A
1) ไม่ over tread ทวยเทพเขาจะใช้สูตรในการคำนวณให้ดูโก้ ตามแบบของผมถ้าผมมี 100 USD ผมก็เปิดได้แค่ 1 order ถ้ามี 1000 USD ก็เปิดได้เต็มที่ 10 order เท่านั้นเองครับ หรือปรับตามการขาดทุนที่ยอมรับได้เช่น มีเงินในพอร์ต 1000 USD ยอมรับการขาดทุนได้ที่ 2% นั้นคือ ขาดทุนได้ 20 USD (เอา 20 USD ไปแบ่งเป็น Order ซึ่งต้องมีความเข้าใจเรื่อง pips value)
อ้างอิงที่มาของภาพ https://www.google.co.th/searchq=%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%88+over+trade&rlz=1C1CHBF_enTH728&espv=2&biw=1366&bih=662&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ved=0ahUKEwiX2v3djdXRAhVLGJQKHcEqAkAQ_AUICCgD#imgrc=ToVrlQoWrs2AyM%3A
2) เล่นตามเทรน เทรนทีดูน่าเชื่อถือได้ก็เป็นในรายวันหรือรายสัปดาห์ น้อยไปกว่านั้น ผมไม่แนะนำเพราะจะพบสัญญาณหลอกอยู่มาก อาจใช้อินติเคเตอร์ง่ายๆ เพื่อช่วยในการตัดสินใจ
อ้างอิงที่มาของภาพ
https://www.google.co.th/search?q=%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%88+over+trade&rlz=1C1CHBF_enTH728&espv=2&biw=1366&bih=662&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ved=0ahUKEwiX2v3djdXRAhVLGJQKHcEqAkAQ_AUICCgD#tbm=isch&q=%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%99&imgrc=2FYOCwsGTLWQ7M%3A
วันเสาร์ที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2560
แนวรับแนวต้านตามแนวเฉียงก็มี
ตัวอย่างคู่เงิน USD/CAD กราฟรายสัปดาห์ จะเห็ได้ว่าแนวรับแนวต้านไม่ได้เป็นแนวตรง เป็นแนวเฉียง
ลองไปปรับใช้กับคู่เงินอื่นๆ ดูครับ แค่ใช้ในกราฟที่ใหญ่ขึ้นในรายวันหรือรายสัปดาห์ เหตุผมเพราะชีวิตประจำวันคุณมีอะไรที่ทำมากกว่าการเทรด ปรับใช้ดูนะครับ
วันพุธที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2560
เปลี่ยน Stop loss จากขาดทุนให้เป็นกำไร (trailing stop)
trailing stop ที่ผมใช้จะมี 2 แบบครับ คือ 1) ตาม Price action และแบบที่ 2 คือ Fix
ตัวอย่าง
ผมเทรดคู่เงิน USD/CHF ณ วันที่ 11 มกราคม 2560 ผมเล่นกับแนวรับแนวต้าน และเล่นกับ indicator ง่ายๆ ที่ผมเคยกล่าวไว้แล้ว จากนั้นผมจะเข้าดูเพื่อดูและสังเกตพฤติกรรมราคา ผมจะทำการ trailing stop แบบ Price action ผมก็แค่ย่อกราฟจาก Day เป็น H4 จากนั้นเลื่อน SL จากขาดทุนให้เป็นกำไรตามพฤติกรรมราคา เท่านี้เอง หรือหากต้องการจะ Fix trailing stop ผมมักจะให้ราคาวิ่งไปที่ 6 USD ก่อน (ผมเล่น lot 0.01) ผมก็เลื่อนจุดขาดทุนที่ -5 USD เท่านั้นเอง (ถ้าผิดทางผมก็ยังคงได้กำไร 1 USD)
วันอังคารที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2560
เล่นกับเทรน + แนวรับแนวต้าน + indicator ง่ายๆ
เมื่อก่อนผมจะเทรดตามใจ เทรดตามอารมณ์แต่เมื่อได้ศึกษาจาก internet จากหนังสือที่สอนหรือพูดเกี่ยวกับด้านจิตวิทยาแล้ว ทำให้ได้แนวคิดว่าการที่เราจะทำอะไรเราควรมีแผนล่วงหน้าไว้ก่อน ผมจึงนำมาประยุกต์ใช้เพื่อให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตให้มากที่สุด (2 บรรทัด ตามเขาวิจัยมา 555) วันนี้ผมขอนำเสนอแผนการเทรดของผมซึ่งผมจะใช้ตัวกรองว่าผมจะ Buy หรือ Sell ด้วยการใช้ moving average 12 และ 36 โดยเน้นไปที่กราฟรายวันและรายสัปดาห์ โดยมีขั้นตอนในการเข้าเทรดดังนี้
ตัวอย่าง คู่เงิน E/U กราฟรายสัปดาห์ ณ วันที่ 11 มกราคม 2560 เวลา 08.52 สารสนเทศที่ผมได้จากกราฟนี้คือ
ตัวอย่าง คู่เงิน E/U กราฟรายสัปดาห์ ณ วันที่ 11 มกราคม 2560 เวลา 08.52 สารสนเทศที่ผมได้จากกราฟนี้คือ
1) เทรดรายสัปดาห์เป็นเทรดลงหรือค่าเงิน USD แข็งค่า
2) เส้นค่าเฉลี่ย moving average 12 (สีน้ำเงิน) และ moving average 36 (สีแดง) ตัดกัน เส้นสีแดงมีค่ามากกว่าสีน้ำเงิน ยืนยันได้ว่าเป็นเทรนขาลง (USD แข็งค่า)
3) ทราบแนวรับแนวต้าน ดังเส้นสีเขียว
การตัดสินใจเข้าเล่น
1. ผมจะรอราคาขึ้นไปที่เส้นสีเขียวด้านบน ซึ่งรู้จักกันในนาม แนวรับแนวต้าน
2. ผมทำการ Sell ด้วยอัตราส่วนที่เข้าเสี่ยง 1 ต่อ 3
เพื่อเพิ่มความมั่นใจผมย่อกราฟลงเป็นรายวันสารสนเทศที่ผมได้จากกราฟนี้คือ
1) เทรดรายวันเป็นเทรดลงหรือค่าเงิน USD แข็งค่า
2) เส้นค่าเฉลี่ย moving average 12 (สีน้ำเงิน) และ moving average 36 (สีแดง) ตัดกัน เส้นสีแดงมีค่ามากกว่าสีน้ำเงิน ยืนยันได้ว่าเป็นเทรนขาลง (USD แข็งค่า)
3) ทราบแนวรับแนวต้าน ดังเส้นสีเขียว
การตัดสินใจเข้าเล่น
1. ผมจะรอราคาขึ้นไปที่เส้นสีเขียวด้านบน ซึ่งรู้จักกันในนาม แนวรับแนวต้าน
2. ผมทำการ Sell ด้วยอัตราส่วนที่เข้าเสี่ยง 1 ต่อ 3
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
วัตถุประสงค์การวิจัย 3 ข้อ สูตรยาผีบอก
นโยบายเปลี่ยน การปฏิบัติก็เปลี่ยน การทำวิจัยในครูก็ยิ่งลดลง เนื่องด้วยการประเมินวิทยฐานะแบบใหม่หรือเรียกกันติดปากว่า ว.21 วันนี้จะมาพ...
-
ในการจัดการสอนนั้น ครูผู้สอนมักต้องการให้ข้อสอบของตนมีคุณภาพ เพื่อเป็นการประกันว่าข้อสอบนั้นสามารถวัดได้ตรง และวัดได้คล้ายกับครั้งที...
-
การตรวจสอบข้อมูลก่อนการวิเคราะห์ข้อมูลนั้น เป็นเรื่องที่ดีและเป็นจริยธรรมที่ดีของนักวิจัย เพราะข้อมูลที่ได้จากกลุ่มตัวอย่าง หรือกลุ่มเป...